Thursday, April 2, 2015

Practice example 2.1 - 2.29

Example 2.1 - 2.29


ex. 2.1
วิธีการสร้าง vector

ex. 2.2
การสร้าง vector ในแนวตั้ง

ex. 2.3
การสร้าง Array แบบกำหนดเงื่อนไข มีหรือไม่มีวงเล็บ [] ก็ได้โดย
ตัวเลขตัวหน้าคือจำนวนเริ่มต้น
ตัวเลขตัวกลางคือจำนวนที่เปลี่ยนไป
ตัวเลขตัวหลังคือจำนวนสุดท้าย

ex. 2.4
คำสั่ง linspace(x,y,z)
x == จำนวนเริ่มต้น
y == จำนวนสุดท้าย
z == จำนวนตัวเลขใน Array

ex. 2.6
การสร้าง Matrice จะประกาศเป็นตัวเลขแต่ละตัวก็ได้โดยเมื่อถึง ';' จะเป็นการขึ้นแถวใหม่ใน Matrice
และสามารถใส่สมาชิกของ Matirce ด้วย expression ก็ได้

ex. 2.7
การสร้าง Matrice ด้วยในแต่ละแถวด้วยวิธีต่างๆ

ex. 2.8
zeros(h,k) == สร้าง Matrice ที่ประกอบด้วยเลข 0 ทั้งหมดจำนวน h แถว k คอลัมน์

ex. 2.9
ones(h,k) == สร้าง Matrice ที่ประกอบด้วยเลข 1 ทั้งหมดจำนวน h แถว k คอลัมน์

ex. 2.10
eye(x) == สร้าง Matrice ขนาด 5x5 ด้วย เลข 0 และประกอบด้วยเลข 1 ในแนวทะแยงจากซ้ายบนไปขวาล่างของ Matrice

ex. 2.11
aa' == สลับหลักเป็นแถว

ex. 2.12
VCT(n) == ตัวเลขตำแหน่งที่ n ของ VCT
สามารถ assign ค่าใหม่ให้ได้หรือนำมาใช้คำนวณได้

ex. 2.13
MAT(m,n) = 20 คือการ assign ค่า 20 ให้กับ Matrice MAT ที่ตำแหน่งแถว m หลัก n

ex. 2.14
v(3:7) อ้างอิงถึงเฉพาะจำนวนที่ 3 ถึง 7 ของ v

ex. 2.15
A(:,3) == หลักที่ 3 ของ A
A(2,:) == แถวที่ 2 ของ A
A(2:4,:) == แถวที่ 2 ถึง 4 ของ A
A(1:3,2:4) == แถวที่ 1 ถึง 3 และหลักที่ 2 ถึง 4 ของ A

ex. 2.16
การสร้าง Matrice ด้วยการประกาศเงื่อนไขที่ซับซ้อน

ex. 2.17
การ assign ไปที่ตำแหน่งที่ยังไม่มีใน Vector จะเป็นการเติมค่านั้นๆเข้าไป
หาก assign ข้ามตำแหน่งที่ยังไม่เคย assign จะให้ตำแหน่งที่ยังไม่ assign เป็น 0
สามารถ assign ค่าใน Vector ด้วยตัวแปรได้

ex. 2.18
 ตัวอย่างการสร้าง Matrice ที่ซับซ้อนขึ้น

ex. 2.19
การ assign ไปที่ตำแหน่งที่ยังไม่มีใน Matrice จะเป็นการเติมค่านั้นๆเข้าไป
หาก assign ข้ามตำแหน่งที่ยังไม่เคย assign จะให้ตำแหน่งที่ยังไม่ assign เป็น 0

ex. 2.20
การ assign ตำแหน่งใดให้ = [] เป็นการทำให้ค่าที่ตำแหน่งนั้นว่างเปล่า นั่นคือลบค่าที่ตำแหน่งนั้นออกจาก Vector

ex. 2.21
การ assign ตำแหน่งใดให้ = [] เป็นการทำให้ค่าที่ตำแหน่งนั้นว่างเปล่า นั่นคือลบค่าที่ตำแหน่งนั้นออก
จาก Matrice

ex. 2.22
length(A) == จำนวนตัวเลขใน Vector A
size(A) == ขนาดของ Matrice A
reshape(A, 3, 2) == จัดตำแหน่งของ A ใหม่ให้มี 3 แถว 2 หลัก

ex. 2.23
diag(v) == เปลี่ยน Vector v ให้เป็น Matrice โดยจำนวนตัวแรกจะอยู่ที่มุมซ้ายบนและจำนวนสุดท้ายอยู่ขวาล่าง
คำสั่งนี้ยังสามารถเปลี่ยนจาก Matrice เป็น Vector ได้อีกด้วย โดยจะนำเอาตัวเลขที่อยู่มุมซ้ายบนจนถึงมุมขวาล่างของ Matrice มาสร้างเป็น Vector

ex. 2.24
สามารถสร้าง Matrice ด้วยคำสั่ง ones() และ zeros() ได้

ex. 2.25
การสร้าง และเปลี่ยนแปลงค่าในบางตำแหน่งของ Matrice สามารถทำได้ด้วยการระบุตำแหน่งที่แน่ชัดของค่าที่ต้องการเปลี่ยน

ex. 2.26
การสร้าง Matrice ด้วยเงื่อนไขที่ซับซ้อน

ex. 2.27
 สามารถ assign ค่าให้ตัวแปรด้วย String
B(n) == ตัวอักษรที่ตำแหน่งที่ n ของ B
B(j:k) == ตัวอักษรที่ตำแหน่งที่ j ถึง k ของ B

ex. 2.28
 char() == สร้างชุดของ String ซึ่งแต่ละบรรทัดจะคั่นด้วย ','

ex. 2.29
x ถูก assign เป็นตัวเลข
y ถูก assign เป็น String ซึ่งสร้างมาจากตัวเลข

No comments:

Post a Comment